สรุปการลาของข้าราชการครู ทั้ง 11 ประเภท ข้าราชการทุกประเภทจะใช้ระเบียบการลาเดียวกันคือ ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการลาข้าราชการ พ.ศ.2555 ระเบียบการลาการลาแบ่งออกเป็น 11 ประเภท คือ
(1) การลาป่วย
(2) การลาคลอดบุตร
(3) การลาไปช่วยเหลือภริยาที่คลอดบุตร
(4) การลากิจส่วนตัว
(5) การลาพักผ่อน
(6) การลาอุปสมบทหรือการลาไปประกอบพิธีฮัจย์
(7) การลาเข้ารับการตรวจเลือกหรือเข้ารับการเตรียมพล
(8) การลาไปศึกษา ฝึกอบรม ดูงาน หรือปฏิบัติการวิจัย
(9) การลาไปปฏิบัติงานในองค์การระหว่างประเทศ
(10) การลาติดตามคู่สมรส
(11) การลาไปฟื้นฟูสมรรถภาพด้านอาชีพ
1.การลาป่วย
– ปีละไม่เกิน 60 วันทำการ
– กรณีจำเป็นผู้มีอำนาจสามารถให้ลาได้อีกไม่เกิน 60 วันทำการ
– เสนอใบลา ก่อน/ในวันลา
– ลาตั้งแต่ 30 วันขึ้นไป ต้องมีใบรับรองแพทย์
– แม้ไม่ถึง 30 วันแต่ผู้มีอำนาจฯ จะสั่งให้มีใบรับรองแพทย์/ใบรับการตรวจจากแพทย์ก็ได้
– กรณีจำเป็นผู้มีอำนาจสามารถให้ลาได้อีกไม่เกิน 60 วันทำการ
– เสนอใบลา ก่อน/ในวันลา
– ลาตั้งแต่ 30 วันขึ้นไป ต้องมีใบรับรองแพทย์
– แม้ไม่ถึง 30 วันแต่ผู้มีอำนาจฯ จะสั่งให้มีใบรับรองแพทย์/ใบรับการตรวจจากแพทย์ก็ได้
2.การลาคลอดบุตร
– สามารถลาได้ไม่เกิน 90 วัน/ครั้ง
– ไม่ต้องมีใบรับรองแพทย์
– ต้องเสนอใบลา ก่อน/ในวันลา
– สามารถลาวันที่คลอด/ก่อนวันที่คลอดก็ได้
– ถ้าลาแล้วไม่ได้คลอดให้ถือว่าวัีนที่หยุดไปแล้วเป็นวันลากิจส่วนตัว
– การลาคลอดที่คาบเกี่ยวกับลาประเภทอื่นซึ่งยังไม่ครบ ให้ถือว่า ลาประเภทอื่นสิ้นสุดและให้นับเป็นวันเริ่มลาคลอดบุตร
– ไม่ต้องมีใบรับรองแพทย์
– ต้องเสนอใบลา ก่อน/ในวันลา
– สามารถลาวันที่คลอด/ก่อนวันที่คลอดก็ได้
– ถ้าลาแล้วไม่ได้คลอดให้ถือว่าวัีนที่หยุดไปแล้วเป็นวันลากิจส่วนตัว
– การลาคลอดที่คาบเกี่ยวกับลาประเภทอื่นซึ่งยังไม่ครบ ให้ถือว่า ลาประเภทอื่นสิ้นสุดและให้นับเป็นวันเริ่มลาคลอดบุตร
3.การลาไปช่วยเหลือภริยาที่คลอดบุตร
– ลาไปช่วยเหลือภริยาโดยชอบด้วยกฎหมาย
– ลาได้ครั้งหนึ่งติดต่อกันได้ไม่เกิน 15 วันทำการ
– เสนอใบลา ก่อน/ในวันลาภายใน 90 วัน
-ได้รับเงินเดือนระหว่าลา
– ลาได้ครั้งหนึ่งติดต่อกันได้ไม่เกิน 15 วันทำการ
– เสนอใบลา ก่อน/ในวันลาภายใน 90 วัน
-ได้รับเงินเดือนระหว่าลา
4.การลากิจส่วนตัว
– ลาได้ไม่ปีละไม่เกิน 45 วันทำการ
– ปีแรกที่เข้ารับราชการ ลาได้ไม่เกิน 15 วัน
– ลากิจเพื่อเลี้ยงดูบุตร (ต่อจากลาคลอดบุตร) ลาได้ไม่เกิน 150 วันทำการ (ไม่ได้รับเงินเดือน)
– การเสนอใบลา ต้องได้รับอนุญาตก่อนจึงจะสามารถหยุดได้
– หากมีราชการจำเป็น : สามารถเรียกตัวกลับได้
– ปีแรกที่เข้ารับราชการ ลาได้ไม่เกิน 15 วัน
– ลากิจเพื่อเลี้ยงดูบุตร (ต่อจากลาคลอดบุตร) ลาได้ไม่เกิน 150 วันทำการ (ไม่ได้รับเงินเดือน)
– การเสนอใบลา ต้องได้รับอนุญาตก่อนจึงจะสามารถหยุดได้
– หากมีราชการจำเป็น : สามารถเรียกตัวกลับได้
5.ใการลาพักผ่อน
– สามารถลาได้ปีละ 10 วันทำการ
– สามารถสะสมได้ไม่เกิน 20 วันทำการ
– สามารถสะสมได้ไม่เกิน 30 วันทำการ (รับราชการ 10 ปีขึ้นไป)
– ถ้าบรรจุไม่ถึง 6 เดือน : ไม่มีสิทธิ์
– หากเสนอใบลาต้องได้รับอนุญาตก่อนจึงหยุดได้
– ถ้ามีราชการจำเป็น : สามารถเรียกตัวกลับได้
– สามารถสะสมได้ไม่เกิน 20 วันทำการ
– สามารถสะสมได้ไม่เกิน 30 วันทำการ (รับราชการ 10 ปีขึ้นไป)
– ถ้าบรรจุไม่ถึง 6 เดือน : ไม่มีสิทธิ์
– หากเสนอใบลาต้องได้รับอนุญาตก่อนจึงหยุดได้
– ถ้ามีราชการจำเป็น : สามารถเรียกตัวกลับได้
6.การลาอุปสมบท/ประกอบพิธีฮัจย์
กรณีไม่เกิน 120 วัน
– ต้องไม่เคยลาประเภทนี้มาก่อน
– รับราชการไม่น้อยกว่า 1 ปี
– รับราชการไม่น้อยกว่า 1 ปี
การเสนอใบลา
– ก่อนอุปสมบท หรือเดินทางไม่น้อยกว่า 60 วัน
– อุปสมบท หรือเดินทางภายใน 10 วัน
– เสร็จแล้ว รายงานตัวภายใน 5 วัน
– หากลาแล้วขอถอนวันลา ถือว่าวันที่หยุดไปเป็นวันลากิจส่วนตัว
– ก่อนอุปสมบท หรือเดินทางไม่น้อยกว่า 60 วัน
– อุปสมบท หรือเดินทางภายใน 10 วัน
– เสร็จแล้ว รายงานตัวภายใน 5 วัน
– หากลาแล้วขอถอนวันลา ถือว่าวันที่หยุดไปเป็นวันลากิจส่วนตัว
7.การเข้ารับการตรวจเลือก/เตรียมพล
เข้ารับการตรวจเลือก : เพื่อรับราชการเป็นทหารกองประจำการ
– ให้รายงานผู้บังคับบัญชาก่อนไม่น้อยกว่า 48 ชม.
เข้ารับการเตรียมพล : เข้ารับการระดมพล ตรวจสอบพล ฝึกวิชาการทหาร ทดสอบความพรั่งพร้อม
เข้ารับการเตรียมพล : เข้ารับการระดมพล ตรวจสอบพล ฝึกวิชาการทหาร ทดสอบความพรั่งพร้อม
– รายงานผู้บังคับบัญชาภายใน 48 ชม. นับแต่รับหมายเรียก
ลาได้ตามระยะเวลาของภารกิจในหมายเรียก
เสร็จภารกิจให้กลับภายใน 7 วัน (ต่อได้รวมแล้วไม่เกิน 15 วัน)
ลาได้ตามระยะเวลาของภารกิจในหมายเรียก
เสร็จภารกิจให้กลับภายใน 7 วัน (ต่อได้รวมแล้วไม่เกิน 15 วัน)
8.การลาศึกษา ฝึกอบรม ดูงาน หรือปฏิบัติการวิจัย
ได้รับเงินเดือนไม่เกิน 4 ปี ต่อได้รวมไม่เกิน 6 ปี
พ้นทดลองงาน
เสนอใบลาต่อผู้บังคับบัญชาตามลำดับ จนถึงหัวหน้าส่วนราชการ (ในประเทศ) หรือถึงปลัดกระทรวง (ต่างประเทศ)
เสนอใบลาต่อผู้บังคับบัญชาตามลำดับ จนถึงหัวหน้าส่วนราชการ (ในประเทศ) หรือถึงปลัดกระทรวง (ต่างประเทศ)
กรณีต่างประเทศ
– ไปศึกษา/ปฏิบัติการวิจัย ต้องรับราชการมาไม่น้อยกว่า 1 ปี
ลาศึกษาต่อในประเทศ (กรณีให้ได้รับเิงินเดือน)
ลาศึกษาต่อในประเทศ (กรณีให้ได้รับเิงินเดือน)
– หลักสูตรที่ไม่สูงกว่าปริญญาตรี สามารถลาได้มีกำหนดเท่ากับระยะเวลาของหลักสูตร
– หลักสูตรปริืญญาโท สามารถลาได้ 2 ปี
– หลักสูตรปริญญาเอก สามารถลาได้ 4 ปี
– หลักสูตรปริญญาเอก สามารถลาได้ 4 ปี
หมายเหตุ : สามารถขยายเวลาศึกษาได้ครั้งละ 1 ภาคการศึกษา รวมแล้วไม่เกิน 2 ครั้ง หรือไ่ม่เกิน 1 ปีการศึกษา
– สาขาวิชา/ระดับการศึกษา : สอดคล้องเป็นประโยชน์กับงาน/มาตรฐานกำหนดตำแหน่ง
– ต้องพ้นจากการทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการแล้ว
– กรณีที่เคยได้รับอนุมัติให้ไปศึกษาเพิ่มเติมฯ จะต้องกลับมาปฏิบัติราชการแล้วเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 1 ปี
– ต้องสำเร็จการศึกษาไม่ต่ำกว่าระดับปริญญาตรี หรือเทียบเท่า และรับราชการติดต่อมาแล้วเป็นเวลาไม่น้อยกว่าหนึ่งปี
– ต้องทำสัญญากับส่วนราชการเจ้าสังกัดว่าจะกลับมาปฏิบัติราชการเป็นเวลาไม่น้อยกว่าระยะเวลาที่ใช้ในการศึกษาเพิ่มเติม หรือปฏิบัติการวิจัยแล้วแต่กรณี
– ทำสัญญาชดใช้
– ต้องพ้นจากการทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการแล้ว
– กรณีที่เคยได้รับอนุมัติให้ไปศึกษาเพิ่มเติมฯ จะต้องกลับมาปฏิบัติราชการแล้วเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 1 ปี
– ต้องสำเร็จการศึกษาไม่ต่ำกว่าระดับปริญญาตรี หรือเทียบเท่า และรับราชการติดต่อมาแล้วเป็นเวลาไม่น้อยกว่าหนึ่งปี
– ต้องทำสัญญากับส่วนราชการเจ้าสังกัดว่าจะกลับมาปฏิบัติราชการเป็นเวลาไม่น้อยกว่าระยะเวลาที่ใช้ในการศึกษาเพิ่มเติม หรือปฏิบัติการวิจัยแล้วแต่กรณี
– ทำสัญญาชดใช้
(ศึกษา/ฝึกอบรม ต่างประเทศ : เวลา 1 เท่า)
(ศึกษาในประเทศ : เวลาไ่ม่น้อยกว่า 1 เท่า)
หมายเหตุ : หากไ่ม่กลับมารับราชการ : ชดใช้เงิน + เบี้ยปรับ
(ศึกษาในประเทศ : เวลาไ่ม่น้อยกว่า 1 เท่า)
หมายเหตุ : หากไ่ม่กลับมารับราชการ : ชดใช้เงิน + เบี้ยปรับ
9.การลาไปปฏิบัติงานในองค์กรระหว่างประเทศ
การลาไปปฏิบัติงานฯ มี 2 ประเภท ได้แก่
ประเภทที่ 1
– องค์การฯ ซึ่งไทยเป็นสมาชิก และถึงวาระต้องส่ง
– รัฐบาลไทยมีข้อผูกพันที่จะต้องส่งฯ ตามความตกลงระหว่างประเทศ
– ไปศึกษา/ปฏิบัติการวิจัย ต้องรับราชการมาไม่น้อยกว่า 1 ปี
– ส่งเพื่อพิทักษ์รักษาผลประโยชน์ของประเทศตามความต้องการรัฐบาลไทย
– รัฐบาลไทยมีข้อผูกพันที่จะต้องส่งฯ ตามความตกลงระหว่างประเทศ
– ไปศึกษา/ปฏิบัติการวิจัย ต้องรับราชการมาไม่น้อยกว่า 1 ปี
– ส่งเพื่อพิทักษ์รักษาผลประโยชน์ของประเทศตามความต้องการรัฐบาลไทย
ประเภทที่2
– นอกเหนือจากประเภทที่ 1
10.การลาติดตามคู่สมรส
เป็นคู่สมรสโดยชอบด้วยกฎหมาย ซึ่งเป็น ข้าราชการ หรือพนักงานรัฐวิสาหกิจ
ลาได้ไม่เกิน 2 ปี
– ต่อได้อีก 2 ปี รวมไม่เกิน 4 ปี
– ถ้าเกินให้ลาออก
ไม่ได้รับเงินเดือนระหว่างลา
ผู้มีอำนาจจะอนุญาตให้ลาครั้งเดียวหรือหลายครั้งก็ได้ และคู่สมรสต้องอยู่ปฏิบัติหน้าที่ราชการติดต่อกัน
ครบกำหนด 4 ปี ไม่มีสิทธิลา ยกเว้นคู่สมรสกลับมาแ้ล้วและได้รับคำสั่งให้ไปอีก
11.การลาไปฟื้นฟูสมรรถภาพด้านอาชีพ
ข้าราชการผู้ได้รับอันตรายหรือการป่วยเจ็บเพราะเหตุปฏิบัติราชการในหน้าที่ ถูกประทุษร้ายเพราะเหตุกระทำการตามหน้าที่ จนทำให้ตกเป็นผู้ทุพพลภาพหรือพิการ
– ลาไปฟื้นฟูด้านอาชีพได้ตามระยะเวลาที่กำหนดไว้ในหลักสูตรที่ประสงค์จะลา แต่ไม่เกิน 12 เดือน
ข้าราชการที่ได้รับอันตรายหรือการป่วยเจ็บจนทำให้ตกเป็นผู้ทุพพลภาพหรือพิการเพราะเหตุอื่น
– ลาไปฟื้นฟูด้านอาชีพได้ตามระยะเวลาที่กำหนดไว้ในหลักสูตรที่ประสงค์จะลา แต่ไม่เกิน 12 เดือน
จัดส่งใบลาต่อผู้บังคับบัญชาตามลำดับจนถึงผู้มีอำนาจพิจารณา หรืออนุญาตพร้อมแสดงหลักฐานเกี่ยวกับหลักสูตรที่ประสงค์จะลา และเอกสารที่เกี่ยวข้อง (ถ้ามี) เพื่อพิจารณาอนุญาต
ดาวน์โหลด
ที่มาครูสมชายคัดมาจาก: http://gg.gg/jcbro